29 มีนาคม 2555

พรบ. คอมพิวเตอร์ 2550 ทุกคนที่ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้

   

       พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ  ให้ประกาศว่า  โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมาย ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ             ดังต่อไปนี้

มาตรา ๑๓
หมายถึง 
   ถ้าการที่มีการ จำหน่ายหรือการเผยแพร่ชุดคำสั่งที่จัดทำขึ้นโดยเฉพาะเพื่อที่เป็นเครื่องมือในการกระทำความผิด ที่ต้องตาม มาตราที่ ๕ มาตราที่ ๖ มาตราที่ ๗ มาตราที่ ๘ มาตราที่ ๑๐ หรือ มาตราที่ ๑๑  หากฝ่าฝืน ต้องมีโทษ จำคุก ไม่เกิน  หนึ่งปีหรือปรับไม่เกิน เป็นต้น
มาตรา ๑๔
หมายถึง
   การกระทำผิด ดังต่อไปนี้ มีการถูกจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือมีการปรับไม่เกิน หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ                                                                                                              (๑.) การเข้าสู้คอมพิวเตอร์ซึ้งทางด้านข้อมูลของคอมพิวเตอร์ปลอมทั้งหมดหรือบางส่วนก็ตาม ทางด้านข้อมูลเป็นเท็จ โดยทำให้เกิดความเสียหาย แก่ผู้อื่นหรือประชาชน เป็นต้น
(๒) การเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ป็นเท็จ โดยจะเกิดความเสียหายต่อความมั่งคงของประเทศได้หรือก่อใหเกิดความตื่นตกใจแก่ประชาชนได้ เป็นต้น
(๓) การเข้าสู่รบบคอมพิวเตอร์ไม่ว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ ที่เกี่ยวกับความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดที่เกี่ยวกับการก่อการร้ายที่มีผลต่อกาประมาลผลทางกฎหมายอาญา เป็นต้น
(๔) การเข้าสู่รบบคอมพิวเตอร์ไม่ว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ใดๆ  ที่มีสื่ออนาจารและข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ เป็นต้น
(๕)  การเผยแพร่หรือการส่งถึงข้อมูลของคอมพิวเตอร์ โดยทราบถึงข้อมูลที่เป็นไปตามมาตราที่ (๑)(๒) (๓) หรือ (๔) เป็นต้น
มาตรา ๑๕
หมายถึง 
   ผู้ที่ให้บริการ หรือการสนับสนุนทางด้านข้อตกลง โดยจะมีความผิดตามมาตรา ๑๔  ในระบบคอมพิวเตอร์ที่มการควบคุมขงการทำงาน โดยจะมีการระวางโทษ เช่นเดียวกับผูที่กระทำผิดตามมาตรา ๑๔  เป็นต้น
มาตรา ๑๖
หมายถึง  
   ผู้ใดที่สามารถเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าไม่ถึง ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏทเป็นภาพของบุคคลอื่น เป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือมีการดัดแปลง ด้วยวิธีการทางด้านอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยอันที่เป็นประการที่จะทำให้ผู้อื่นเสียงชื่อเสียง ถกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือได้รับควมอับอาย ต้องมีการระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือมีการปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ การกระทำตามวรรคหนึ่ง เป็นการนำเข้าของข้อมูลโดยสุจริต ผู้ที่กระทำไม่มีความผิด ตามความผิดวรรคหนึ่ง เป็นความผิดที่ยอมความได้ แต่ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งเกิดเสียชีวิตก่อนการร้องทุกข์ ให้บิดา  มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายสามารถมการร้องทกข์ได้ และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหายแทน เป็นต้น
มาตรา ๑๗
หมายถึง                              
(๑)บุคคลที่กระทำความผิดนั้นเป็นคนไทยและรัฐบาลแห่งประเทศ ที่ได้รับความผิดที่เกิดขึ้นหรือผู้เสียหายได้มีการเรียกขอให้มีการลงโทษ

(๒) บุคคลที่กระทำความผิดนั้นเป็นคนต่างด้าวและรัฐบาลไทยหรือคนไทยที่เป็นผู้เสียหาย และผู้เสียหายก็สามารถเรียกขอให้มีการลงโทษและต้องรับโทษในราชอาญาจักร ตามหมวดที่ ๒ ของเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ เป็นต้น
มาตรา ๑๘
หมายถึง  
   ในการบังคับมาตรา ๑๙ เพื่อเป็นประโยชน์ในการสืบสวนและสอบสวนในกรณีที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ โดยพนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจอย่างหนึ่งอย่างใด ดังต่อไปนี้ที่ ใช้เฉพาะที่จำเป็นเพื่อประโยชน์ในการใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทำความผิดและหาตัวผู้กระทำความผิดมาลงโทษ                                                                                                                     (๑) โดยมีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระทำของความผิดตามพระราช -บัญญัตินี้มาเพื่อให้ถ้อยคำส่งคำชี้แจงเป็นหนังสือหรือส่งเอกสารข้อมูลหรือหลักฐานอื่นใดที่อยู่ในรูปแบบที่สามารถเข้าใจได้ เป็นต้น
(๒) เรียกข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์จากผู้ให้บริการเกี่ยวกับในส่วน การติดต่อสื่อสารผ่านระบบ - คอมพิวเตอร์หรือจากบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องด้วย  เป็นต้น
(๓) สั่งให้ผู้ให้มีบริการส่งมอบข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้บริการที่ต้องเก็บตามมาตรา ๒๖ หรือที่อยู่ในความครอบครองหรือการควบคุมของผู้ให้บริการให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้ เป็นต้น
(๔) การทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ จากระบบคอมพิวเตอร์ที่มีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ โดยกรณีที่ระบบคอมพิวเตอร์นั้นยังมิได้อยู่ในความครอบครองของพนักงานเจ้าหน้าที่ เป็นต้น
(๕) การสั่งให้บุคคลซึ่งครอบครองหรือควบคุมข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ไว้เพื่อการส่งมอบข้อมูลคอมพิวเตอร์ ในอุปกรณ์ดังกล่าวให้แก่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้เป็นต้น
(๖) ตรวจสอบหรือเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมูลคอมพิวเตอร์จากข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ที่ใช้เก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด อันเป็นหลักฐานหรืออาจใช้เป็นหลักฐานเกี่ยวกับการกระทำความผิด หรือเพื่อสืบสวนหาตัวผู้กระทำความผิดและสั่งให้บุคคลนั้นส่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ ที่เกี่ยวข้องเท่าที่จำเป็นให้ด้วย เป้นต้น
(๗) ถอดรหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ของบุคคลใด มีการสั่งให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการเข้ารหัสลับของข้อมูลคอมพิวเตอร์ ทำการถอดรหัสลับ หรือให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ในการถอดรหัสลับดังกล่าวได้ เป็นต้น
(๘) โดยยึดหรืออายัดระบบคอมพิวเตอร์เท่าที่จำเป็นเฉพาะเพื่อให้เป็นประโยชน์ในการทราบรายถึงละเอียดแห่งการกระทำความผิดและผู้กระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เป็นต้น
มาตรา ๑๙
หมายถึง   
   ในการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) โดยพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ยื่นคำร้องต่อศาล ที่มีเขตอำนาจเพื่อมีคำสั่งอนุญาตให้พนักงานเจ้าหน้าที่ดำเนินการตามคำร้อง ทั้งนี้ จากคำร้องต้องระบุเหตุอันควรเชื่อได้ว่าบุคคลใดกระทำหรือกำลังจะกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เหตุที่ต้องใช้อำนาจ ลักษณะของการกระทำความผิดโดยตาม   รายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ใช้ในการกระทำความผิดและผู้กระทำความผิด เท่าที่สามารถจะระบุได้ ประกอบคำร้องด้วยในการพิจารณาคำร้องให้ศาลพิจารณาคำร้องดังกล่าวโดยเร็วเมื่อศาลมีคำสั่งอนุญาตแล้ว ก่อนดำเนินการตามคำสั่งของศาล ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งสำเนาบันทึกเหตุอันควรเชื่อที่ทำให้ต้องใช้อำนาจตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) และ (๘) มอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐาน แต่ถ้าไม่มีเจ้าของหรือผู้ครอบครองเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ ณ ที่นั้น ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ส่งมอบสำเนาบันทึกนั้นให้แก่เจ้าของหรือ ผู้ครอบครองดังกล่าวในทันทีที่กระทำได้ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้เป็นหัวหน้าในการดำเนินการตามมาตรา ๑๘ (๔) (๕) (๖) (๗) (๘) ส่งสำเนาบันทึกรายละเอียดการดำเนินการและเหตุผลแห่งการดำเนินการให้ศาลที่มีเขตอำนาจภายในสี่สิบแปดชั่วโมงนับแต่เวลาลงมือดำเนินการ เพื่อเป็นหลักฐานการทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามมาตรา ๑๘ (๔)  ให้กระทำได้เฉพาะเมื่อมีเหตุอันควรเชื่อได้ว่ามีการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ และต้องไม่เป็นอุปสรรคในการดำเนินกิจการของเจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นเกินความจำเป็น การยึดหรืออายัดตามมาตรา ๑๘ (๘) นอกจากจะต้องส่งมอบสำเนาหนังสือแสดงการยึดหรืออายัดมอบให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองระบบคอมพิวเตอร์นั้นไว้เป็นหลักฐานแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะสั่งยึดหรืออายัดไว้เกินสามสิบวันมิได้ ในกรณีจำเป็นที่ต้องยึดหรืออายัดไว้นานกว่านั้น ให้ยื่นคำร้องต่อศาลที่มีเขตอำนาจเพื่อขอการขยายเวลายึดหรืออายัดได้ แต่ศาลจะอนุญาตให้ขยายเวลาครั้งเดียวหรือหลายครั้งรวมกันได้อีกไม่เกินหกสิบวัน เมื่อหมดความจำเป็นที่จะยึดหรืออายัดหรือครบกำหนดเวลาดังกล่าวนี้  โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ต้องส่งคืนระบบคอมพิวเตอร์ที่ยึดหรือถอนการอายัดโดยพลันเปลี่ยนข้อมูลของ หนังสือแสดงการยึดหรืออายัดตามวรรคห้าให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เป็นต้น

มาตรา ๒๐
หมายถึง  
  โดยกรณีที่ การกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้เป็นการทำให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์     ที่อาจกระทบกระเทือนต่อความมั่นคงแห่งราชอาณาจักร ตามที่กำหนดไว้ในภาคสองลักษณะ ๑ หรือลักษณะ ๑/๑ แห่งประมวลกฎหมายอาญา หรือที่มีลักษณะขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน พนักงานเจ้าหน้าที่โดยได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีอาจยื่นคำร้อง พร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอำนาจขอให้มีคำสั่งระงับการทำให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งให้ระงับการทำให้แพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ตามวรรคหนึ่ง ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ทำการระงับการทำให้แพร่หลายนั้นเอง หรือสั่งให้ผู้ให้บริการระงับ ของมูลจากการแพร่หลายซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นก็ได้  เป็นต้น

มาตรา ๒๑
หมายถึง  
  โดยกรณีที่พนักงานเจ้าหน้าที่ได้พบว่า ข้อมูลของคอมพิวเตอร์ใดมีชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์รวมอยู่ด้วย พนักงานเจ้าหน้าที่อาจมียื่นคำร้องต่อศาลที่มีเขตอำนาจเพื่อขอให้มีคำสั่งห้ามจำหน่ายหรือเผยแพร่ หรือสั่งให้เจ้าของหรือผู้ครอบครองข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นระงับการใช้ ทำลายหรือแก้ไขข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นได้ หรือจะกำหนดเงื่อนไขในการใช้ มีไว้ในครอบครอง หรือเผยแพร่ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ดังกล่าวก็ได้ชุดคำสั่งไม่พึงประสงค์ตามวรรคหนึ่งหมายถึงชุดคำสั่งที่มีผลทำให้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรือระบบทางด้านของคอมพิวเตอร์หรือชุดคำสั่งอื่นเกิดความเสียหาย ถูกทำลาย หรื้อถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมขัดข้อง หรือปฏิบัติงานไม่ตรงตามคำสั่งที่กำหนดไว้ หรือโดยประการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวงทั้งนี้ เว้นแต่เป็นชุดคำสั่งที่มุ่งหมายในการป้องกันหรือแก้ไขชุดคำสั่งดังกล่าวข้างต้น ตามที่รัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษได้ เป็นต้น